หน้าเว็บ

วันพฤหัสบดีที่ 12 สิงหาคม พ.ศ. 2553

คู่มือการใช้สารเคมี ของ บริษัท เจียไต๋ จำกัด

คู่มือ
การใช้สารเคมี ในพืชผักอย่างปลอดภัย
บริษัท เจียไต๋ จำกัด
เคมีเกษตร
ตารางการใช้อาหารเสริมและการป้องกันกำจัดโรคและแมลง
แตงกวา, แตงร้าน, แตงท่อน, แตงญี่ปุ่น
http://www.chiataigroup.com/

ช่วงเวลาปลูก การใช้สารเคมี การใช้อาหารเสริม
* อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร * อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร
7-10 วัน โคไซด์ 1/2 ช้อน (5 กรัม) มามีโกร 12-9-6 30 ซีซี.
หลังหยอดเมล็ด บาวีซาน 2 ช้อน (20 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
เทนเอ็ม 2 ช้อน (20 กรัม)
ระยะเริ่มเป็นใบจริง โคไซด์ 1 ช้อน (10 กรัม)

โนมิลดิว 2 ช้อน (20 กรัม) ออร์กามิน 20 ซีซี.
เทนเอ็ม 2 ช้อน(20 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน (20 กรัม) มามีโกร 12-9-6 30 ซีซี.
ชอสแมค 10 ซีซี.
ระยะเริ่มเลื้อย/เริ่มพันค้าง เทนเอ็ม 2 ช้อน(20 กรัม) นูริช 30 ซีซี.
ใกล้ออกดอก บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
Corfidel + Accent มามีโกร 10-52-17 3 ช้อน
ชอสแมค 10 ซีซี (30 กรัม)
เริ่มติดลูก เทนเอ็ม 2 ช้อน(20 กรัม) นูริช 30 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) ออร์กามิน 30 ซีซี.
อโทนิค 5 ซีซี.
ชอสแมค 10 ซีซี มามีโกร 21-21-21 3 ช้อน
(30 กรัม)
v การป้องกันกำจัดโรคและแมลง
1. โรคโคนเน่า ใช้โนมิลดิว ฉีดที่โคนต้น หากแตงยังเล็กใช้ 1 ช้อน แตงอายุราว 30 วันขึ้นไป ใช้
( Stem rot / Root rot ) 2 ช้อน ระยะห่างของการฉีดควรเว้น 15 วัน / ครั้ง หรือใช้สารจุลินทรีย์พวกบาซิลลัส
ซับทิลิสและไตรโคเดอม่าฉีดพ่นและราดโคนต้น
2. โรคราน้ำค้าง อาการที่ใบจะเป็นจุดสีเหลืองๆ ก่อน พลิกดูใต้ใบจะมีขุยสีเทาๆ อยู่ใต้ใบใช้โคไซด์
( Downy mildew ) + โนมิลดิว + เทนเอ็ม อย่างละ 1 ช้อน หากเป็นรุนแรงใช้ลอนมิเนต 1-2 ช้อน ต่อ
น้ำ 1 ปี๊บ ฉีดพ่นทุก 7 วันครั้ง
3. โรคใบจุด, ใบกรอบ ใช้บาวีซาน + โคไซด์ อย่างละ 2 ช้อน ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นทุก 7 วันครั้ง
( Bacterial blight )
4. ยอดหงิก, งอ, หด เกิดจากพวกเพลี้ยไฟ, ไรแดง ใช้ชอสแมค 30 ซีซี. + เบสมอร์ 5 ซีซี. ไม่ควรผสม
( Curly top ) กับยากลุ่มฮอร์โมน และอาหารเสริม เพราะจะทำให้ลำต้นและเถาแตก หากรุนแรง
ใช้สารกลุ่ม ฟิโปรนิล (Fipronil) หรือ อิมิดาโคลปริด (Imidacloprid )
5. ใบเหลือง, ยอดไม่พุ่ง ออร์กามิน 30 ซีซี. + อโทนิค 5 ซีซี. + มามีโกร 12-9-6 30 ซีซี + จิ๊บเบอร์เรลลิน
( Mineral deficiency )
6. แตงลูกงอ, บิด ออร์กามิน 30 ซีซี. + อโทนิค 5 ซีซี. + จิ๊บเบอร์เรลลิน
โตไม่สม่ำเสมอ
7. หนอนชอนใบ ใช้น๊อคทริน 30 ซีซี. + ชอสแมค 1 ช้อน + เบสมอร์ 5 ซีซี.
(หนอนแผนที่)

ข้อควรจำ
· ควรผสมสารเพิ่มประสิทธิภาพ เบสมอร์ ทุกครั้งที่มีการฉีดยา โดยให้ผสมเป็นยาตัวสุดท้ายเพื่อให้ยาจับบนใบพืชได้นานขึ้น ป้องกันการชะล้างจากฝน
· โคไซด์ ในแตงอายุน้อย ไม่ควรใส่เกิน 1 ช้อน เพราะจะทำให้ใบหนาและไม่ควรผสมกับปุ๋ยเกร็ดสูตรเร่งดอก (ตัวกลางสูง) จะทำให้ยาตกตะกอน
· จิ๊บเบอร์เรลลิน ในฤดูร้อนไม่ควรฉีดในช่วงที่แตงกวาออกดอก เพราะจะทำให้เปลี่ยนดอกตัวเมีย เป็น ดอกตัวผู้ได้ แต่ควรฉีดในช่วงที่ติดลูกไปแล้ว และใส่ในปริมาณเล็กน้อย ไม่ควรเพิ่มความเข้มข้นของยา
· เอ-ทิ-ฟอน ในฤดูฝน + ฤดูหนาว ไม่ควรฉีดเพราะจะทำให้ ดอก + ผลร่วง ควรฉีดในฤดูร้อนเพื่อเพิ่มให้มีดอกตัวเมียมากขึ้น แต่ต้องฉีดในช่วงที่แตงเริ่มจะออกดอก

ตารางการใช้อาหารเสริมและการป้องกันกำจัดโรคและแมลง
พริก
ช่วงเวลาปลูก การใช้สารเคมี การใช้อาหารเสริม
* อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร * อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร
เริ่มปลูก อโทนิค 5 ซีซี. กระตุ้นให้ต้นพริกฟื้นตัวและแตกใบอ่อนได้เร็ว และใช้โนมิลดิว
(ต้นกล้าอายุ 1เดือน) 2 ช้อนฉีดที่โคนต้น
เริ่มตั้งต้น แตกใบ โคไซด์ 1 ช้อน (10 กรัม) มามีโกร 12-9-6 30 ซีซี.
แตกพุ่ม โนมิลดิว 2 ช้อน(20 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
เทนเอ็ม 3 ช้อน(30 กรัม) ออร์กามิน 30 ซีซี.
น๊อคทริน 10 % 30 ซีซี.
เริ่มแตกพุ่ม โคไซด์ 2 ช้อน(20 กรัม)
และออกดอก โนมิลดิว 2 ช้อน(20 กรัม) นูริช 30 ซีซี.
เทนเอ็ม 3 ช้อน(30 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) มามีโกร 12-27-23 3 ช้อน
น๊อคไดน์ 30 ซีซี. (30 กรัม)
ติดผล เทนเอ็ม 3 ช้อน(30 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) มามีโกร 6-32-35 3 ช้อน(30กรัม)
โนมิลดิว 2 ช้อน(20 กรัม) ออร์กามิน 30 ซีซี. น๊อคทริน 10 % 30 ซีซี. นูริช 30 ซีซี.
ดี.ซี.ตรอน พลัส 30 ซีซี.
v การป้องกันกำจัดโรคและแมลง
1. โคนเน่า จะพบในช่วงลงกล้าใหม่ๆ และในช่วงฝนที่ตกชุกมากๆ หากเป็นแล้วใช้ โนมิลดิว
(damping-off ) 3 ช้อน ผสมดาโคนิล 2 ช้อน ฉีดที่โคนและใบให้ทั่ว หรือให้สารจุลินทรีย์พวก
บาซิลลัส ซับทิลิส และไตรโคเดอม่าฉีดพ่นและราดโคนต้น
2. ใบจุดเหลืองร่วง จะพบในช่วงที่มีน้ำค้างลงปลายฝนต้นหนาว ใช้บาวีซาน 2 ช้อน + เทนเอ็ม 3 ช้อน
ผลเน่าแห้ง(กุ้งแห้ง) + เบสมอร์ 5 ซีซี. หากเป็นรุนแรงใช้ ลอนมิเนต 1-2 ช้อน/ น้ำ 1 ปี๊บฉีดพ่นทุก 7 วัน
( Anthracnose )
3. โรคยอดเน่าเปื่อย เกิดพิษจากเชื้อรา และแบคทีเรีย ให้ใช้ โคไซด์ 2 ช้อน + บาวีซาน + เบสมอร์ ฉีด
( Bacteria wilt ) พ่นทุก 7 วัน
4. ราน้ำค้าง โนมิวดิว 2 ช้อน เท็นเอ็ม 3 ช้อนฉีดพ่นทุก 7 วัน
( Downy mildew )
5. ยอดหงิก งอ หด เกิดจากเพลี้ยไฟ ไรแดงปกติถ้าเป็นน้อยใช้ น๊อคทริน10% 30 ซีซี. ฉีด แต่ถ้าหากเกิด
(Curly top) มากและระบาดไปทั่วใช้ Fipronil+ เบสมอร์ 5 ซีซี.ฉีด หรือใช้สารกลุ่มTmidacloprid
6. หนอนเจาะผล ชอสแมค 1 ช้อน + น๊อคทริน 30 ซีซี. + เบสมอร์ 3-5 ซีซี. ฉีดพ่นให้ทั่ว 7 วันครั้ง
(เจาะขั้วผล)

ตารางการใช้อาหารเสริมและการป้องกันกำจัดโรคและแมลง
ถั่วฝักยาว
ช่วงเวลาปลูก การใช้สารเคมี การใช้อาหารเสริม
* อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร * อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร
เริ่มเป็นใบจริง โคไซด์ 1 ช้อน(10 กรัม) มามีโกร 12-9-6 30 ซีซี.
โนมิลดิว 2 ช้อน(20 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
เทนเอ็ม 3 ช้อน(30 กรัม) ออร์กามิน 30 ซีซี.
น๊อคทริน 10% 30 ซีซี.
เริ่มเลื้อย / พันค้าง โคไซด์ 2 ช้อน(20 กรัม)
เริ่มออกดอก เทนเอ็ม 3 ช้อน(30 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) มามีโกร 12-27-23 3 ช้อน(3กรัม)
น๊อคทริน 10% 30 ซีซี. ออร์กามิน 30 ซีซี.
ดี.ซี.ตรอนพลัส 30 ซีซี.
เริ่มติดฝัก เทนเอ็ม 3 ช้อน(30 g) อโทนิค 5 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน(20 g) มามีโกร 6-32-35 3 ช้อน(30 g)
น๊อคทริน 10% 30 ซีซี. นูริช 40 ซีซี.
¨ การป้องกันกำจัดโรคและแมลง
1. โรคราสนิม และโรค ใบจุด ใช้บาวีซาน + โคไซด์ อย่างละ 2 ช้อน หากเป็นแต่ราสนิมอย่างเดียว ใช้สารน้ำมัน
(Rust ,Leaf spot) ดีซี ตรอน พลัส ฉีดพ่น
2. โรคราน้ำค้าง ( Downy mildew ) ใช้เทนเอ็ม + โนมิลดิว อย่างละ 2 ช้อนต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น 7 วันครั้ง
3. หนอนชอนใบ หนอนเจาะฝัก ใช้น๊อคทริน 30 ซีซี. + เบสมอร์ 5 ซีซี. ถ้าไม่ระบาดมากใช้สารน้ำมันดี.ซี.ตรอน
พลัส 30 ซีซี. + ชอสแมค 5 ซีซี./น้ำ 20 ลิตร

ตารางการใช้อาหารเสริมและการป้องกันกำจัดโรคและแมลง
แตงโม, แตงโมไม่มีเมล็ด

ช่วงเวลาปลูก การใช้สารเคมี การใช้อาหารเสริม
* อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร * อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร
7-10 วัน หลังหยอดเมล็ด โคไซด์ 1/2 ช้อน(5 กรัม) มามีโกร 12-9-6 30 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
เทนเอ็ม 2 ช้อน(20 กรัม)
เริ่มเป็นใบจริง โคไซด์ 1 ช้อน(10 กรัม)
(ใบหงิก) โนมิลดิว 2 ช้อน(20 กรัม) ออร์กามิน 30 ซีซี.
เทนเอ็ม 2 ช้อน(20 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) มามีโกร 12-9-6 30 ซีซี.
ชอสแมค 10 ซีซี.
น๊อคทริน 10% 30 ซีซี.
เริ่มเลื้อย/เริ่มพันค้าง เทนเอ็ม 2 ช้อน(20 กรัม) นูริช 30 ซีซี.
ใกล้ออกดอก บาวีซาน 2 ช้อน(20 g) อโทนิค 5 ซีซี.
ชอสแม็ค 10 ซีซี. มามีโกร 10-52-17 3 ช้อน
น๊อคทริน 10 % 30 ซีซี. ออร์กามิน 30 ซีซี.เริ่มติดลูก เทนเอ็ม 2 ช้อน อโทนิค 5 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน มามีโกร 6-32-35 3 ช้อน
น๊อคทริน 10% 30 ซีซี. นูริช 40 ซีซี.
ชอสแมค 10 ซีซี.
v การป้องกันกำจัดโรคและแมลง
1. โคนเน่า ใช้โนมิลดิว 3 ช้อน ผสมน้ำ 20 ลิตร ฉีดที่โคนต้นหรือใช้พวกสารจุลินทรีย์ บาซิลัส
( Foot rot , Root rot ) ซับทิลิส และไตรโครเดอม่า ฉีดพ่นและราดโคนต้น
2. โรคเถายุบ โคไซด์ + บาวีซาน อย่างละ 2 ช้อน หากเป็นมากใช้พวกสเตรปโตมัยซิล
( Bacteria wilt ) (Streptomycin) หรือ อ๊อกซี่เตทตระไซคลิน (Oxytetracyclin)
3. ราน้ำมัน ใช้โคไซด์ฉีดพ่นในบริเวณที่เป็น 3-4 ช้อน หากเป็นรุนแรงใช้พวกสเตรปโตมัยซิล
( Bacterial soft rot ) (Streptomycin) หรือ อ๊อกซี่เตทตระไซคลิน (Oxytetracyclin)
4. ราน้ำค้าง ใช้โนมิลดิว + เทนเอ็ม อย่างละ 2 ช้อน หากเป็นรุนแรงใช้ลอนมิเนต 1-2 ช้อน
( Downy mildew ) ฉีดพ่นทุก 7 วัน
5. โรคใบหยิก, งอ เกิดจากเพลี้ยไฟ, ไรแดงใช้ชอสแม็ค 30 ซีซี. + เบสมอร์ 5 ซีซี. ฉีดหากรุนแรงใช้
( Curly top ) สารกลุ่มฟิโปรนิล (fipronil ) 30ซีซี. + เบสมอร์ ฉีดหรือใช้สารกลุ่ม อิมิดาโคลปริด (Imidacloprid) 30 ซีซี. + เบสมอร์ 5 ซีซี. ฉีด
6. หนอนไถเปลือก น๊อคทริน 30 ซีซี. + ชอสแมค 1 ช้อน + เบสมอร์ 5 ซีซี. ฉีดพ่น
หนอนชอนใบ
7. เถาแตกต้นแตก ใช้นูริช 30-40 ซีซี. อโทนิค 5 ซีซี ฉีดพ่นสาเหตุเกิดจากพืชขาดน้ำมากจนเกินไปพอ
(Crack stem) ได้รับน้ำในปริมาณมาก เช่น ฝนตก จะทำให้เกิดเถาแตกได้
8. แตงโมไม่แดง , ไส้ซึม ใช้นูริช 40 ซีซี. + อโทนิค 5 ซีซี. ฉีดโดยควรฉีดตั้งแต่แตงโมเริ่มออกดอกเพื่อให้
( Boron defeciency ) แตงโมมีการสะสมน้ำตาล
9. ใบเหลือง แคระแกร็น ออร์กามิน 30 ซีซี. + อโทนิค 5 ซีซี.
แตงโมไม่แตกพุ่ม
(Mineral defeciency)
10. เต่าแตง ใช้น๊อคทริน 25 % 30 ซีซี. + เบสมอร์ 5 ซีซี.


ตารางการใช้อาหารเสริมและการป้องกันกำจัดโรคและแมลง
มะเขือเทศ
ช่วงเวลาปลูก การใช้สารเคมี การใช้อาหารเสริม
* อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร * อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร
ช่วงเพาะกล้า คลุกเมล็ดก่อนปลูกด้วยโนมิลดิว ป้องกันโรคโคนเน่า
หลังจากปลูก 7-10 วัน โนมิลดิว 2 ช้อน(20 กรัม) มามีโกร 12-9-6 30 ซีซี.
โคไซด์ 2 ช้อน(20กรัม) ออร์กามิน 20 ซีซี.
เทนเอ็ม 2 ช้อน(20กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
ชอสแมค 10 ซีซี.
เริ่มออกดอก โนมิลดิว 2 ช้อน(20กรัม) มามีโกร 10-52-17 3 ช้อน
โคไซด์ 2 ช้อน(20กรัม) นูริช 30 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน(20กรัม) อโทนิค 5 ซีซี ชอสแมค 10 ซีซี.
เริ่มติดลูก เทนเอ็ม 3 ช้อน มามีโกร 6-32-35 3 ช้อน
โคไซด์ 2 ช้อน นูริช 40 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน ออร์กามิน 30 ซีซี.
ชอสแมค 10 ซีซี. อโทนิค 5 ซีซี.

¨ การป้องกันกำจัดโรคและแมลง
1. โรคเน่าคอดิน จะพบมากในช่วงเพาะกล้า อาการจะเห็นต้นกล้าหักพับบริเวณโคนต้นระดับผิวดิน
( Dumping off ) และจะเน่ายุบตายเป็นหย่อม ๆป้องกันโดยใช้โนมิลดิว 2 ช้อน/น้ำ 1 ปี๊บราดโคนต้น
2. โรคโคนเน่า หรือ จะพบมากในช่วงออกดอกเป็นต้นไป ใบที่อยู่ล่างๆ จะเหลืองและเหี่ยว ที่โคนต้นจะ
โรคราเมล็ดผักกาด เป็นรอยสีน้ำตาล มีเส้นใยสีขาวอยู่รอบ ๆ และจะพบเมล็ดสีน้ำตาลคล้ายเมล็ด
( Sclerotinia rot ) ผักกาดติดอยู่บริเวณโคนต้น หากพบใช้โนมิลดิว 3 ช้อน / ปี๊บ ฉีด หากรุนแรงใช้
โรคเน่าคอดินและโรคโคนเน่า เกิดจากเชื้อรา แนะนำให้ใช้สารจุลินทรีย์ บาซิลลัสซับทิลิสและไตรโคเดอม่า
ผสมน้ำราดโคนต้นและฉีดพ่นใบ แต่ไม่ควรใช้ร่วมกับสารเคมี
3. โรคใบจุด อาการที่ใบจะพบจุดสีน้ำตาลดำ เป็นจ้ำๆ คล้ายกำมะหยี่ แผลจะเป็นวงซ้อนๆ กัน
(Early blight) ใต้ใบจะพบฝุ่นสีน้ำตาล หรือสีดำติดตามแผลหากรุนแรงใบจะเหลืองแห้งตาย
Altermaria solani ป้องกันกำจัดโดยใช้ โพลีอ๊อกซิน เอแอล 3 ช้อน +เทนเอ็ม 3 ช้อน / น้ำ 1 ปี๊บ ฉีดพ่น
ทุก 5-7 วัน
4. โรคใบไหม้ หรือน้ำร้อนลวก จะพบมากในช่วงติดดอกจนถึงเก็บเกี่ยวโรคนี้สามารถเป็นได้ทุกส่วน อาการจะเป็น
(Late blight) รอยไหม้สีน้ำตาลแดง คล้ายน้ำร้อนลวก หากระบาดรุนแรง ใบ ดอก และผล จะ
Phytophthora infestants หลุดร่วง ลำต้นเหี่ยวแห้งตาย โรคจะระบาดมากในช่วงที่มีอากาศเย็น ดังนั้นในช่วงที่
มีน้ำค้างและหมอกลงจัด ควรฉีดโนมิลดิว หรือ หากเป็นรุนแรงใช้ ลอนมิเนต อัตรา
1-2 ช้อน/ปี๊บ
5. โรคเหี่ยวเหลือง อาการใบล่างๆ จะเหลือง และจะเหี่ยวในตอนกลางวันที่มีแดดร้อนจัด และจะฟื้นใน
(Fusarium wilt) ช่วงเย็นๆ หรือตอนกลางคืน หากเป็นมากจะเหี่ยวตลอดเวลาและตาย บริเวณโคนต้น
จะผุเปื่อย ป้องกันโดยใช้สารจุลินทรีย์พวกบาซิลลัส ซับทิลิส หรือไตรโคเดอม่า
ผสมน้ำราดโคนและฉีดพ่น ไม่ควรใช้ร่วมกับสารเคมี
6. โรคเหี่ยวเขียว อาการต้นและใบจะเหี่ยวอย่างรวดเร็วทั้งๆ ที่เป็นสีเขียวอยู่ มักจะพบเป็นหย่อมๆ
(โรคเหี่ยวเฉา) มักพบในแปลงที่ปลูกซ้ำๆ กันหลายๆ ปี ป้องกันและกำจัดโดยใช้โคไซด์ อัตรา 3
(Bacterial wilt) ช้อน / น้ำ 1 ปี๊บ หากเป็นมากใช้สารพวกยาปฏิชีวนะกลุ่ม streptomycin
7. โรคผลเน่าหรือ จะพบในช่วงเกิดผล สาเหตุเกิดจากการขาดธาตุแคลเซียม หรือให้น้ำไม่สม่ำเสมอ
ปลายผลดำ อาการ จะพบรอยเน่าดำที่ปลายผล ทำให้ผลร่วง ป้องกันโดยใช้นูริช ในอัตรา
( Fruit rot ) 40 ซีซี. /น้ำ 1 ปี๊บ
8. โรคใบหงิก, ใบกูด อาการยอดจะหงิกงอ ใบเหลืองซีด ต้นแคระแกร็น เกิดจากพวกเพลี้ยไฟ, ไรแดง
( Curly top ) ป้องกันโดยใช้ชอสแมค 30 ซีซี. / น้ำ 1 ปี๊บ หากระบาดรุนแรงใช้สารพวก
ฟิโปรนิล (Fipronil) หรือ อิมิดาโคลปริด (Imidacolprid)
9. หนอนกินดอก และ หนอนเมื่อยังเล็กจะกัดกินดอก และใบทำให้ดอกร่วง เมื่อหนอนโตขึ้นจะเจาะเข้าไป
หนอนเจาะผล อยู่ภายในผล และกัดกินภายในผลทำให้ผลร่วงป้องกันโดยใช้น๊อคทริน 10 % 30 ซีซี.
ชอสแมค 10 ซีซี. + เบสมอร์ 5 ซีซี. ผสมน้ำ 1 ปี๊บ ฉีดพ่น

ตารางการใช้อาหารเสริมและการป้องกันกำจัดโรคและแมลง
กะหล่ำปลี, กะหล่ำดอก, บร็อคโคลี่, กะหล่ำปม

ช่วงเวลาปลูก การใช้สารเคมี การใช้อาหารเสริม
* อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร * อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร
เริ่มปลูก ใช้โนมิลดิว อัตรา 2 ช้อน ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงเพื่อป้องกันโรคโคนเน่า ต้นเน่า
เริ่มแตกใบ โคไซด์ 2 ช้อน(20 กรัม) ออร์กามิน 30 ซีซี.
เทนเอ็ม 3 ช้อน(30 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) นูริช 30 ซีซี.
โนมิลดิว 2 ช้อน(20 กรัม) มามีโกร 12-9-6 30 ซีซี.
ชอสแมค 10 ซีซี.
ดี.ซี. ตรอนพลัส 20 ซี.ซี.
เริ่มออกดอก เทนเอ็ม 3 ช้อน นูริช 40 ซีซี.
(กะหล่ำดอก) บาวีซาน 2 ช้อน อโทนิค 5 ซีซี.
ชอสแมค 20 ซีซี.
กรณี กะหล่ำดอกใช้มามีโกร 6-32-35 3 ช้อน
ถ้าเป็น กะหล่ำปลี, กะหล่ำปม, บร็อคโดลี่ ใช้มามีโกร 21-21-21 3 ช้อน
ข้อแนะนำ : แนะนำให้ใช้ผ้าใยสังเคราะห์สปันบอนของเจียไต๋ คลุมแปลงป้องกันแมลงตัวเล็กๆได้ดี

v การป้องกันกำจัดโรคและแมลง
1.ใบจุด - ใบจะเป็นจุดสีดำ รอบๆ แผลจะเป็นสีเหลือง เมื่อเชื้อแพร่ระบาดมากขึ้น แผลจะขยาย
( Leaf spot ) ติดกัน เกิดใบไหม้แห้งกรอบ ป้องกันโดยถ้าเกิดจากเชื้อ Gercosporaใช้ เทนเอ็ม + บาวี
ซาน อย่างละ 2 ช้อน / น้ำ 1 ปี๊บ ถ้าเกิดจากเชื้อ Alternaria ลักษณะแผลเป็นวงซ้อนกัน ใช้
เทนเอ็ม 30 กรัม + โพลี่อ๊อกซิน 60 กรัม/น้ำ 1 ปี๊บ
2.ราน้ำค้าง - บนใบจะเป็นพื้นสีเหลือง ใต้ใบจะเป็นเส้นใยสีขาวเป็นกระจุก ป้องกันโดยใช้ โนมิลดิว +
( Downy mildew ) เทนเอ็ม อย่างละ 2 ช้อน ฉีดพ่น หากระบาดรุนแรงใช้ ลอนมิเนต อัตรา 1-2 ช้อน
3.โรคเน่าเละ - เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เนื้อเยื่อพืชจะยุบตัวลง แผลจะมีสีน้ำตาลอ่อน เปียกและชื้นเป็น
( Soft rot ) เมือกไหลเยิ้ม มีกลิ่นเหม็นป้องกันโดยหากพบอาการเริ่มแรกฉีดพ่นด้วยนูริช 40 ซีซี. +
โคไซด์ 3 ช้อน หากรุนแรงไม่สามารถป้องกันได้
4.โรคปลายใบแห้ง - เกิดจากการขาดธาตุแคลเซียม ใบจะเป็นสีน้ำตาลฉ่ำน้ำต่อมาจะแห้งเป็นสีน้ำตาลจะ
( Tip burn ) เป็นที่ใบอ่อน ๆ ก่อนป้องกันโดยใช้นูริช 40-50 ซีซี. / น้ำ 1 ปี๊บ
5.โรคไส้ดำ - เกิดจากการขาดธาตุ โบรอน (B) อาการที่สังเกตได้คือ ต้นจะเหี่ยวเฉา รากจะผุเปราะเมื่อ
( Black rot ) ผ่าดูในส่วนกลางของราก จะมีสีดำและกลวง ป้องกันโดยใช้นูริช 30 ซีซี. / น้ำ 1 ปี๊บ

ตารางการใช้อาหารเสริมและการป้องกันกำจัดโรคและแมลง
คะน้า, กวางตุ้ง, ผักบุ้ง, ขาวปลีเบา

ช่วงเวลาปลูก การใช้สารเคมี การใช้อาหารเสริม
* อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร * อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร
เริ่มปลูก ใช้โนมิลดิว อัตรา 2 ช้อน /น้ำ 1 ปี๊บ ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงเพื่อป้องกันโรคโคนเน่า ต้นเน่า
เริ่มแตกใบ โคไซด์ 2 ช้อน (20 กรัม) ออร์กามิน 30 ซีซี.
เทนเอ็ม 3 ช้อน(20 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) นูริช 30 ซีซี.
โนมิลดิว 2 ช้อน(20 กรัม) มามีโกร 12-9-6 30 ซีซี.
ชอสแมค 10 ซี.ซี
ดี.ซี. ตรอนพลัส 20 ซี.ซี.
เริ่มเป็นใบจริง เทนเอ็ม 3 ช้อน นูริช 40 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน อโทนิค 5 ซีซี.
ชอสแม็ค 20 ซี.ซี มามีโกร 21-21-21 3 ช้อน
คำเตือน : แนะนำให้ใช้ผ้าใยสังเคราะห์สปันบอนของเจียไต๋ คลุมแปลงป้องกันแมลงตัวเล็กๆได้ดี

v การป้องกันกำจัดโรคและแมลง
1. ใบจุด - ใบจะเป็นจุดสีดำ รอบๆ แผลจะเป็นสีเหลือง เมื่อเชื้อแพร่ระบาดมากขึ้น แผลจะขยาย
( Leaf spot ) ติดกัน เกิดใบไหม้แห้งกรอบ ป้องกันโดยถ้าเกิดจากเชื้อ Gercosporaใช้ เทนเอ็ม + บาวี
ซาน อย่างละ 2 ช้อน/น้ำ 1ปี๊บถ้าเกิดจากเชื้อ Alternaria ลักษณะแผลเป็นวงซ้อนกัน ใช้
เทนเอ็ม 30 กรัม + โพลี่อ๊อกซิน 60 กรัม/น้ำ 1 ปี๊บ
2. ราน้ำค้าง - บนใบจะเป็นพื้นสีเหลือง ใต้ใบจะเป็นเส้นใยสีขาวเป็นกระจุก ป้องกันโดยใช้ โนมิลดิว +
( Downy mildew ) เทนเอ็ม อย่างละ 2 ช้อน ฉีดพ่น หากระบาดรุนแรงใช้ ลอนมิเนต อัตรา 1-2 ช้อน
3. โรคเน่าเละ - เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เนื้อเยื่อพืชจะยุบตัวลง แผลจะมีสีน้ำตาลอ่อน เปียกและชื้นเป็น
( Soft rot ) เมือกไหลเยิ้ม มีกลิ่นเหม็นป้องกันโดยหากพบอาการเริ่มแรกฉีดพ่นด้วยนูริช 40 ซีซี. +
โคไซด์ 3 ช้อน หากรุนแรงไม่สามารถป้องกันได้
4. โรคปลายใบแห้ง - เกิดจากการขาดธาตุแคลเซียม ใบจะเป็นสีน้ำตาลฉ่ำน้ำต่อมาจะแห้งเป็นสีน้ำตาลจะ
( Leaf blight ) เป็นที่ใบอ่อน ๆ ก่อนป้องกันโดยใช้นูริช 40-50 ซีซี. / น้ำ 1 ปี๊บ
5. โรคไส้ดำ - เกิดจากการขาดธาตุ โบรอน (B) อาการที่สังเกตได้คือ ต้นจะเหี่ยวเฉา รากจะผุเปราะเมื่อ
( Black rot ) ผ่าดูในส่วนกลางของราก จะมีสีดำและกลวง ป้องกันโดยใช้ นูริช 30 ซีซี. / น้ำ 1 ปี๊บ
6. โรคราสนิมขาว - ส่วนมากจะเกิดกับผักบุ้ง สังเกตบนใบจะมีจุดสีเหลืองกลม พลิกดูใต้ใบจะพบตุ่มเป็นนูน
( White rust ) สีขาวอยู่ใต้บริเวณแผล ป้องกันกำจัดโดยใช้ บาวีซาน 3 ช้อน / น้ำ 1 ปี๊บ Albugo candida

ตารางการใช้อาหารเสริมและการป้องกันกำจัดโรคและแมลง
ขาวปลีพันธุ์หนัก, เขียวปลี

ช่วงเวลาปลูก การใช้สารเคมี การใช้อาหารเสริม
* อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร * อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร
เริ่มปลูก ใช้โนมิลดิว อัตรา 2 ช้อน /น้ำ 1 ปี๊บ ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงเพื่อป้องกันโรคโคนเน่า ต้นเน่า
เริ่มแตกใบ โคไซด์ 2 ช้อน(20 กรัม) ออร์กามิน 30 ซีซี.
เทนเอ็ม 3 ช้อน(30 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) นูริช 30 ซีซี.
โนมิลดิว 2 ช้อน(20 กรัม) มามีโกร 12-9-6 30 ซีซี.
ชอสแมค 10 ซี.ซี.
ดี.ซี. ตรอนพลัส 20 ซี.ซี.
เริ่มเป็นใบจริง เทนเอ็ม 3 ช้อน(30 กรัม) นูริช 40 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
ชอสแมค 20 ซี.ซี. มามีโกร 21-21-21 3 ช้อน
ข้อแนะนำ : แนะนำให้ใช้ผ้าใยสังเคราะห์สปันบอนของเจียไต๋ คลุมแปลงป้องกันแมลงตัวเล็กๆได้ดี

v การป้องกันกำจัดโรคและแมลง
1. ใบจุด - ใบจะเป็นจุดสีดำ รอบๆ แผลจะเป็นสีเหลือง เมื่อเชื้อแพร่ระบาดมากขึ้น แผลจะขยาย
( Leaf spot ) ติดกัน เกิดใบไหม้แห้งกรอบ ป้องกันโดยถ้าเกิดจากเชื้อ Gercosporaใช้ เทนเอ็ม + บาวี
ซาน อย่างละ 2 ช้อน / น้ำ 1 ปี๊บถ้าเกิดจากเชื้อ Alternaria ลักษณะแผลเป็นวงซ้อนกัน ใช้
เทนเอ็ม 30 กรัม + โพลี่อ๊อกซิน 60 กรัม/น้ำ 1 ปี๊บ
2. ราน้ำค้าง - บนใบจะเป็นพื้นสีเหลือง ใต้ใบจะเป็นเส้นใยสีขาวเป็นกระจุก ป้องกันโดยใช้ โนมิลดิว +
( Downy mildew ) เทนเอ็ม อย่างละ 2 ช้อน ฉีดพ่น หากระบาดรุนแรงใช้ ลอนมิเนต อัตรา 1-2 ช้อน
3. โรคเน่าเละ - เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เนื้อเยื่อพืชจะยุบตัวลง แผลจะมีสีน้ำตาลอ่อน เปียกและชื้นเป็น
( Soft rot ) เมือกไหลเยิ้ม มีกลิ่นเหม็นป้องกันโดยหากพบอาการเริ่มแรกฉีดพ่นด้วย นูริช 40 ซีซี. +
โคไซด์ 3 ช้อน หากรุนแรงไม่สามารถป้องกันได้
4. โรคปลายใบแห้ง - เกิดจากการขาดธาตุแคลเซียม ใบจะเป็นสีน้ำตาลฉ่ำน้ำต่อมาจะแห้งเป็นสีน้ำตาลจะ
( Leaf blight ) เป็นที่ใบอ่อน ๆ ก่อนป้องกันโดยใช้ นูริช 40-50 ซีซี. / น้ำ 1 ปี๊บ
5. โรคไส้ดำ - เกิดจากการขาดธาตุ โบรอน (B) อาการที่สังเกตได้คือ ต้นจะเหี่ยวเฉา รากจะผุเปราะเมื่อ
( Black rot ) ผ่าดูในส่วนกลางของราก จะมีสีดำและกลวง ป้องกันโดยใช้ นูริช 30 ซีซี. / น้ำ 1 ปี๊บ

ตารางการใช้อาหารเสริมและการป้องกันกำจัดโรคและแมลง
ผักสลัด (ผักกาดหอม)

ช่วงเวลาปลูก การใช้สารเคมี การใช้อาหารเสริม
* อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร * อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร
เริ่มปลูก ใช้โนมิลดิว อัตรา 2 ช้อน /น้ำ 1 ปี๊บ ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงเพื่อป้องกันโรคโคนเน่า ต้นเน่า
เริ่มแตกใบ โคไซด์ 2 ช้อน(20 กรัม) ออร์กามิน 30 ซีซี.
เทนเอ็ม 3 ช้อน(30 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) นูริช 30 ซีซี.
โนมิลดิว 2 ช้อน(20 กรัม) มามีโกร 12-9-6 30 ซีซี.
ชอสแมค 10 ซีซี.
ดี.ซี. ตรอนพลัส 10 ซี.ซี.
เริ่มเป็นใบจริง เทนเอ็ม 3 ช้อน(30 กรัม) นูริช 40 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
ชอสแมค 20 ซีซี. มามีโกร 21-21-21 3 ช้อน
คำเตือน : แนะนำให้ใช้ผ้าใยสังเคราะห์สปันบอนของเจียไต๋ คลุมแปลงป้องกันแมลงตัวเล็กๆได้ดี

v การป้องกันกำจัดโรคและแมลง
1. ใบจุด - ใบจะเป็นจุดสีดำ รอบๆ แผลจะเป็นสีเหลือง เมื่อเชื้อแพร่ระบาดมากขึ้น แผลจะขยาย
( Leaf spot ) ติดกัน เกิดใบไหม้แห้งกรอบ ป้องกันโดยใช้ เทนเอ็ม + บาวีซาน อย่างละ 2 ช้อน /
น้ำ 1 ปี๊บ
2. ราน้ำค้าง - บนใบจะเป็นพื้นสีเหลือง ใต้ใบจะเป็นเส้นใยสีขาวเป็นกระจุก ป้องกันโดยใช้ โนมิลดิว +
( Downy mildew ) เทนเอ็ม อย่างละ 2 ช้อน ฉีดพ่น หากระบาดรุนแรงใช้ ลอนมิเนต อัตรา 1-2 ช้อน
3. โรคเน่าเละ - เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เนื้อเยื่อพืชจะยุบตัวลง แผลจะมีสีน้ำตาลอ่อน เปียกและชื้นเป็น
( Soft rot ) เมือกไหลเยิ้ม มีกลิ่นเหม็นป้องกันโดยหากพบอาการเริ่มแรกฉีดพ่นด้วย นูริช 40 ซีซี. +
โคไซด์ 3 ช้อน หากรุนแรงไม่สามารถป้องกันได้
4. โรคไส้ดำ - เกิดจากการขาดธาตุ โบรอน (B) อาการที่สังเกตได้คือ ต้นจะเหี่ยวเฉา รากจะผุเปราะเมื่อ
( Black rot ) ผ่าดูในส่วนกลางของราก จะมีสีดำและกลวง ป้องกันโดยใช้ นูริช 30 ซีซี. / น้ำ 1 ปี๊บ

ตารางการใช้อาหารเสริมและการป้องกันกำจัดโรคและแมลง
มะเขือเปราะ, มะเขือยาว, มะเขือม่วง

ช่วงเวลาปลูก การใช้สารเคมี การใช้อาหารเสริม
* อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร * อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร
ช่วงเพาะกล้า คลุกเมล็ดก่อนปลูกด้วยโนมิลดิว ป้องกันโรคโคนเน่า
หลังจากปลูก 7-10 วัน โนมิลดิว 2 ช้อน(20 กรัม) มามีโกร 12-9-6 30 ซีซี.
โคไซด์ 2 ช้อน(20 กรัม) ออร์กามิน 20 ซีซี.
เทนเอ็ม 2 ช้อน (20 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
ชอสแมค 10 ซีซี.
เริ่มออกดอก โนมิลดิว 2 ช้อน (20 กรัม) มามีโกร 10-52-17 3 ช้อน
โคไซด์ 2 ช้อน (20 กรัม) นูริช 30 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน (20 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
ชอสแมค 10 ซีซี.
เริ่มติดลูก เทนเอ็ม 3 ช้อน มามีโกร 6-32-35 3 ช้อน
โคไซด์ 2 ช้อน นูริช 40 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน ออร์กามิน 30 ซีซี.
ชอสแมค 10 ซีซี. อโทนิค 5 ซีซี.

¨ การป้องกันกำจัดโรคและแมลง
1. โรคเน่าคอดิน จะพบมากในช่วงเพาะกล้า อาการจะเห็นต้นกล้าหักพับบริเวณโคนต้นระดับผิวดิน
( Dampping off ) และจะเน่ายุบตายเป็นหย่อม ๆ ป้องกันโดยใช้โนมิลดิว 2 ช้อน / น้ำ 1 ปี๊บ
2. โรคโคนเน่า หรือ จะพบมากในช่วงออกดอกเป็นต้นไป ใบที่อยู่ล่างๆ จะเหลืองและเหี่ยว ที่โคนต้นจะ
โรคราเมล็ดผักกาด เป็นรอยสีน้ำตาล มีเส้นใยสีขาวอยู่รอบ ๆ และจะพบเมล็ดสีน้ำตาลคล้ายเมล็ด
( Sclerotinia rot ) ผักกาดติดอยู่บริเวณโคนต้น หากพบใช้โนมิลดิว 3 ช้อน / ปี๊บ ฉีด
พวกโรคเน่าคอดินและโรคโคนเน่าที่เกิดจากเชื้อรา แนะนำให้ใช้สารจุลินทรีย์ พวกบาซิลลัสซับทิลิส หรือไตรโคเดอม่า ผสมฉ่ำฉีดพ่นและราดโคนต้น แต่ไม่ควรใช้ร่วมกับสารเคมี
3. โรคใบจุด อาการที่ใบจะพบจุดสีน้ำตาลดำ เป็นจ้ำๆ คล้ายกำมะหยี่ แผลจะเป็นวงซ้อนๆ กัน
(Early blight) ใต้ใบจะพบฝุ่นสีน้ำตาล หรือสีดำติดตามแผลหากรุนแรงใบจะเหลืองแห้งตาย
Altermaria Solani ป้องกันกำจัดโดยใช้ บาวีซาน 2 ช้อน + เทนเอ็ม 3 ช้อน/ น้ำ 1 ปี๊บ ฉีดพ่นทุก 5-7 วัน
4. โรคเหี่ยวเขียว อาการต้นและใบจะเหี่ยวอย่างรวดเร็วทั้งๆ ที่เป็นสีเขียวอยู่ มักจะพบเป็นหย่อมๆ
(โรคเหี่ยวเฉา) มักพบในแปลงที่ปลูกซ้ำๆ กันหลายๆ ปี ป้องกันและกำจัดโดยใช้โคไซด์ อัตรา 3
(Bacterial wilt) ช้อน / น้ำ 1 ปี๊บ หากเป็นมากใช้สารพวกยาปฏิชีวนะกลุ่ม streptomycin
5. โรคใบหงิก, ใบกูด อาการยอดจะหงิกงอ ใบเหลืองซีด ต้นแคระแกร็น เกิดจากพวกเพลี้ยไฟ + ไร
( Curly top ) ป้องกันโดยใช้ชอสแมค 30 ซีซี. / น้ำ 1 ปี๊บ หากระบาดรุนแรงใช้สารพวก
ฟิโปรนิล (Fipronil) หรือ อิมิดาโคลปริด (Imidacolprid)
6. หนอนกินดอก และ หนอนเมื่อยังเล็กจะกัดกินดอก และใบทำให้ดอกร่วง เมื่อหนอนโตขึ้นจะเจาะเข้าไป
หนอนเจาะผล อยู่ภายในผล และกัดกินภายในผลทำให้ผลร่วงป้องกันโดยใช้ น๊อคทริน 30 ซีซี.
ชอสแมค 1 ช้อน + เบสมอร์ 5 ซีซี. ผสมน้ำ 1 ปี๊บ ฉีดพ่น

ตารางการใช้อาหารเสริมและการป้องกันกำจัดโรคและแมลง
เมล่อน
ช่วงเวลาปลูก การใช้สารเคมี การใช้อาหารเสริม
* อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร * อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร
7-10 วัน โคไซด์ 1/2 ช้อน(5 กรัม) มามีโกร 12-9-6 30 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
เทนเอ็ม 2 ช้อน(20 กรัม)
เริ่มเป็นใบจริง โคไซด์ 1 ช้อน(10 กรัม)
(ใบหงิก) โนมิลดิว 2 ช้อน(20 กรัม) ออร์กามิน 30 ซีซี.
เทนเอ็ม 2 ช้อน(20 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) มามีโกร 12-9-6 30 ซีซี.
ชอสแมค 20 ซีซี.
น๊อคทริน 10% 20 ซีซี.
เริ่มเลื้อย/เริ่มพันค้าง เทนเอ็ม 2 ช้อน(20 กรัม) นูริช 30 ซีซี.
ใกล้ออกดอก บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
ชอสแมค 20 ซีซี. มามีโกร 10-52-17 3 ช้อน
น๊อคทริน 10 % 20 ซีซี. ออร์กามิน 30 ซีซี.
เริ่มติดลูก เทนเอ็ม 2 ช้อน(20 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) มามีโกร 6-32-35 3 ช้อน
น๊อคทริน 10% 20 ซีซี. นูริช 40 ซีซี.
ชอสแมค 10 ซีซี.

v การป้องกันกำจัดโรคและแมลง
1. โคนเน่า โนมิลดิว 3 ช้อน ฉีดที่โคนต้น
( Foot rot / Root rot )
2. โรคเถายุบ โคไซด์ + บาวีซาน อย่างละ 2 ช้อน หากเป็นมากใช้พวกสเตรปโตมัยซิล
(Bacteria wilt ) (Streptomycin) หรือ อ๊อกซี่เตทตระไซคลิน (Oxytetracyclin)
3. ราน้ำค้าง ใช้โนมิลดิว + เทนเอ็ม อย่างละ 2 ช้อน หากเป็นรุนแรงใช้ลอนมิเนต 1-2 ช้อน
( Downy mildew )
4. โรคใบหยิก, งอ (เกิดจากเพลี้ยไฟ ไรแดง) ชอสแม็ค 20 ซีซี. + เบสมอร์ 5 ซีซี. ฉีดหากรุนแรงใช้สาร
( Curly top ) กลุ่มฟิโปรนิล (Fipronil ) 30ซีซี. + เบสมอร์ ฉีดหรือใช้สารกลุ่ม อิมิดาโคลปริด
(Imidacloprid) 30 ซีซี. + เบสมอร์ 5 ซีซี. ฉีด
5. หนอนชอนใบ น๊อคทริน 30 ซีซี. + ชอสแมค 10 ซีซี. + เบสมอร์ 5 ซีซี. ฉีด
6. เถาแตกต้นแตก ใช้นูริช 30-40 ซีซี. อโทนิค 5 ซีซี. ฉีดพ่นสาเหตุเกิดจากพืชขาดน้ำมากจนเกินไปพอ
( Crack Stem ) ได้รับน้ำในปริมาณมาก เช่น ฝนตก จะทำให้เกิดเถาแตกได้
7. ใบเหลือง แคระแกร็น ออร์กามิน 30 ซีซี. + อโทนิค 5 ซีซี.
เมล่อนไม่แตกพุ่ม
( Mineral defeciency )
8. เต่าแตง ใช้น๊อคทริน 25 % 30 ซีซี. + เบสมอร์ 5 ซีซี.

ตารางการใช้อาหารเสริมและการป้องกันกำจัดโรคและแมลง
ฟัก, แฟง, ฟักทอง, สคอวท

ช่วงเวลาปลูก การใช้สารเคมี การใช้อาหารเสริม
* อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร * อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร
7-10 วัน โคไซด์ 1/2 ช้อน(5 กรัม) มามีโกร 12-9-6 30 ซีซี.
หลังหยอด บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
เทนเอ็ม 2 ช้อน(20 กรัม)
เริ่มเป็นใบจริง โคไซด์ 1 ช้อน(10 กรัม)
โนมิลดิว 2 ช้อน(10 กรัม) ออร์กามิน 20 ซีซี.
เทนเอ็ม 2 ช้อน อโทนิค 5 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน มามีโกร 12-9-6 30 ซีซี.
ชอสแมค 10 ซีซี.
เริ่มแตกพุ่ม เทนเอ็ม 2 ช้อน นูริช 30 ซีซี.
ใกล้ออกดอก บาวีซาน 2 ช้อน อโทนิค 5 ซีซี.
ชอสแมค 10 ซีซี มามีโกร 10-52-17 3 ช้อน
เริ่มติดลูก เทนเอ็ม 2 ช้อน นูริช 30 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน ออร์กามิน 30 ซีซี.
น๊อคทริน 10% 10 ซีซี. อโทนิค 5 ซีซี.
ชอสแมค 10 ซีซี มามีโกร 21-21-21 3 ช้อน
v การป้องกันกำจัดโรคและแมลง
1. โรคโคนเน่า ใช้โนมิลดิว ฉีดที่โคนต้น หากแตงยังเล็กใช้ 1 ช้อน แตงอายุราว 30 วันขึ้นไป ใช้
( Foot rot / Root rot ) 2 ช้อน ระยะห่างของการฉีดควรเว้น 15 วัน / ครั้ง
2. โรคราน้ำค้าง อาการที่ใบจะเป็นจุดสีเหลืองๆ ก่อน พลิกดูใต้ใบจะมีขุยสีเทาๆ อยู่ใต้ใบใช้โคไซด์
( Downy mildew ) + โนมิลดิว + เทนเอ็ม อย่างละ 1 ช้อน หากเป็นรุนแรงใช้ลอนมิเนต 1-2 ช้อน ต่อ
น้ำ 1 ปี๊บ
3. โรคใบจุด, ใบกรอบ ใช้บาวีซาน + โคไซด์ อย่างละ 2 ช้อน
( Bacterial blight )
4. ใบเหลือง, ยอดไม่พุ่ง ออร์กามิน 30 ซีซี. + อโทนิค 5 ซีซี. + มามีโกร 12-9-6 30 ซีซี + จิ๊บเบอร์เรลลิน
( Mineral defeciency )
5. หนอนชอนใบ ใช้น๊อคทริน 30 ซีซี. + ชอสแมค 10 ซีซี. + เบสมอร์ 5 ซีซี.
(หนอนแผนที่)
6. เพลี้ยไฟ ใช้น๊อคทริน 30 ซีซี + ชอสแมค 1 ช้อน

ตารางการใช้อาหารเสริมและการป้องกันกำจัดโรคและแมลง
มะระ, บวบ

ช่วงเวลาปลูก การใช้สารเคมี การใช้อาหารเสริม
* อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร * อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร
ระยะต้นกล้า โคไซด์ ½ ช้อน(5 กรัม) มามีโกร 12-9-6 30 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
เท็นเอ็ม 2 ช้อน(20 กรัม)
เริ่มเป็นใบจริง โคไซด์ 1 ช้อน(10 กรัม)
เมื่อหลังย้ายกล้า โนมิลดิว 2 ช้อน(20 กรัม) ออร์กามิน 20 ซีซี.
เทนเอ็ม 2 ช้อน(20 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) มามีโกร 12-9-6 30 ซีซี.
เริ่มเลื้อย/เริ่มพันค้าง เทนเอ็ม 2 ช้อน(20 กรัม) นูริช 30 ซีซี.
ใกล้ออกดอก บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
ชอสแมค 10 ซีซี มามีโกร 10-52-17 3 ช้อน
เริ่มติดลูก เทนเอ็ม 2 ช้อน(20 กรัม) นูริช 30 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) ออร์กามิน 30 ซีซี.
ชอสแมค 10 ซีซี อโทนิค 5 ซีซี.
มามีโกร 21-21-21 3 ช้อน
v การป้องกันและการกำจัดโรคและแมลง
1. โรคโคนเน่า ใช้โนมิลดิว ฉีดที่โคนต้น หากแตงยังเล็กใช้ 1 ช้อน แตงอายุราว 30 วันขึ้นไป ใช้
( Foot rot / Root rot ) 2 ช้อน ระยะห่างของการฉีดควรเว้น 15 วัน / ครั้ง
2. โรคราน้ำค้าง อาการที่ใบจะเป็นจุดสีเหลืองๆ ก่อน พลิกดูใต้ใบจะมีขุยสีเทาๆ อยู่ใต้ใบใช้โคไซด์
( Downy mildew ) + โนมิลดิว + เทนเอ็ม อย่างละ 1 ช้อน หากเป็นรุนแรงใช้ลอนมิเนต 1-2 ช้อน ต่อ
น้ำ 1 ปี๊บ
3. โรคใบจุด, ใบกรอบ ใช้บาวีซาน + โคไซด์ อย่างละ 2 ช้อน
( Bacterial blight)
4. ยอดหงิก, งอ, หด ใช้ชอสแมค 30 ซีซี. + เบสมอร์ 5 ซีซี. ไม่ควรผสมกับยากลุ่มฮอร์โมน และ
( Curly top ) อาหารเสริม เพราะจะทำให้ลำต้นและเถาแตก หากรุนแรงใช้สารกลุ่ม ฟิโปรนิล
(Fipronil) หรือ อิมิดาโคลปริด ( Imidacloprid )
5. หนอนชอนใบ(หนอนแผนที่) ใช้น๊อคทริน 30 ซีซี. + ชอสแมค 1 ช้อน + เบสมอร์ 5 ซีซี.

เทคนิคการใช้อาหารเสริมและการป้องกันกำจัดโรคและแมลง
ผักชี, คื่นช่าย, ตั้งโอ๋, ปวยเล้ง

ช่วงเวลาปลูก การใช้สารเคมี การใช้อาหารเสริม
* อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร * อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร
เริ่มปลูก ใช้โนมิลดิว อัตรา 2 ช้อน /น้ำ 1 ปี๊บ ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงเพื่อป้องกันโรคโคนเน่า ต้นเน่า
เริ่มแตกใบ โคไซด์ 2 ช้อน(20 กรัม) ออร์กามิน 30 ซีซี.
เทนเอ็ม 3 ช้อน(30 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) นูริช 30 ซีซี.
โนมิลดิว 2 ช้อน(20 กรัม) มามีโกร 12-9-6 30 ซีซี.
ชอสแมค 10 ซี.ซี.
ดี.ซี. ตรอนพลัส 20 ซี.ซี.
เริ่มเป็นใบจริง เทนเอ็ม 3 ช้อน(30 กรัม) นูริช 40 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
ชอสแมค 30 ซี.ซี. มามีโกร 21-21-21 3 ช้อน
คำเตือน : แนะนำให้ใช้ผ้าใยสังเคราะห์สปันบอนของเจียไต๋ คลุมแปลงผักป้องกันแมลงตัวเล็กๆได้ดี

v การป้องกันกำจัดโรคและแมลง
1. ใบจุด - ใบจะเป็นจุดสีดำ รอบๆ แผลจะเป็นสีเหลือง เมื่อเชื้อแพร่ระบาดมากขึ้น แผลจะขยาย
( Leaf spot ) ติดกัน เกิดใบไหม้แห้งกรอบ ป้องกันโดยใช้ เทนเอ็ม + บาวีซาน อย่างละ 2 ช้อน /
น้ำ 1 ปี๊บ
2. ราน้ำค้าง - บนใบจะเป็นพื้นสีเหลือง ใต้ใบจะเป็นเส้นใยสีขาวเป็นกระจุก ป้องกันโดยใช้ โนมิลดิว +
( Downy mildew ) เทนเอ็ม อย่างละ 2 ช้อน ฉีดพ่น หากระบาดรุนแรงใช้ ลอนมิเนต อัตรา 1-2 ช้อน
3. โรคเน่าเละ - เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เนื้อเยื่อพืชจะยุบตัวลง แผลจะมีสีน้ำตาลอ่อน เปียกและชื้นเป็น
( Soft rot ) เมือกไหลเยิ้ม มีกลิ่นเหม็นป้องกันโดยหากพบอาการเริ่มแรกฉีดพ่นด้วย นูริช 40 ซีซี. +
โคไซด์ 3 ช้อน หากรุนแรงไม่สามารถป้องกันได้
4. โรคโคนเน่า หรือ - จะพบมากในช่วงเริ่มแตกกอเป็นต้นไป ใบที่อยู่ล่างๆ จะเหลืองและเหี่ยว ที่โคนต้นจะ
โรคราเมล็ดผักกาด เป็นรอยสีน้ำตาล มีเส้นใยสีขาวอยู่รอบ ๆ และจะพบเมล็ดสีน้ำตาลคล้ายเมล็ด
( Sclerotinia rot ) ผักกาดติดอยู่บริเวณโคนต้น หากพบใช้โนมิลดิว 3 ช้อน/ปี๊บ ฉีด หรือใช้สารสกัด
จุลินทรีย์พวกบาซิลัส ซับทิลิส และพวกไตรโคเดอม่า ฉีดพ่นและรดโคนต้น

ตารางการใช้อาหารเสริมและการป้องกันกำจัดโรคและแมลง
ผักกาดหัวและแครอท

ช่วงเวลาปลูก การใช้สารเคมี การใช้อาหารเสริม
* อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร * อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร
เริ่มปลูก ใช้โนมิลดิว อัตรา 2 ช้อน /น้ำ 1 ปี๊บ ฉีดพ่นให้ทั่วแปลงเพื่อป้องกันโรคโคนเน่า ต้นเน่า
เริ่มแตกใบ โคไซด์ 2 ช้อน(20 กรัม) ออร์กามิน 30 ซีซี.
เทนเอ็ม 3 ช้อน(30 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) นูริช 30 ซีซี.
โนมิลดิว 2 ช้อน(20 กรัม) มามีโกร 12-9-6 30 ซีซี.
ชอสแมค 10 ซีซี.
ดี.ซี. ตรอนพลัส 20 ซี.ซี.
เริ่มเป็นใบจริง เทนเอ็ม 3 ช้อน(30 กรัม) นูริช 40 ซีซี.
( เริ่มสร้างหัว ) บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
น๊อคทริน 10 % 10 ซี.ซี. มามีโกร 21-21-21 3 ช้อน
ชอสแมค 10 ซีซี.
คำเตือน : แนะนำให้ใช้ผ้าใยสังเคราะห์สปันบอนของเจียไต๋ คลุมแปลงป้องกันแมลงตัวเล็กๆได้ดี
v การป้องกันกำจัดโรคและแมลง
1. ใบจุด - ใบจะเป็นจุดสีดำ รอบๆ แผลจะเป็นสีเหลือง เมื่อเชื้อแพร่ระบาดมากขึ้น แผลจะขยาย
( Foot rot / Root rot ) ติดกัน เกิดใบไหม้แห้งกรอบ ป้องกันโดยใช้ เทนเอ็ม + บาวีซาน อย่างละ 2 ช้อน /
น้ำ 1 ปี๊บ
2. ราน้ำค้าง - บนใบจะเป็นพื้นสีเหลือง ใต้ใบจะเป็นเส้นใยสีขาวเป็นกระจุก ป้องกันโดยใช้ โนมิลดิว +
( Downy mildew ) เทนเอ็ม อย่างละ 2 ช้อน ฉีดพ่น หากระบาดรุนแรงใช้ ลอนมิเนต อัตรา 1-2 ช้อน
3. โรคเน่าเละ - เกิดจากเชื้อแบคทีเรีย เนื้อเยื่อพืชจะยุบตัวลง แผลจะมีสีน้ำตาลอ่อน เปียกและชื้นเป็น
( Soft rot ) เมือกไหลเยิ้ม มีกลิ่นเหม็นป้องกันโดยหากพบอาการเริ่มแรกฉีดพ่นด้วย นูริช 40 ซีซี. +
โคไซด์ 3 ช้อน หากรุนแรงไม่สามารถป้องกันได้
4. โรคโคนเน่า หรือ - จะพบมากในช่วงเริ่มแตกกอเป็นต้นไป ใบที่อยู่ล่างๆ จะเหลืองและเหี่ยว ที่โคนต้นจะ
โรคราเมล็ดผักกาด เป็นรอยสีน้ำตาล มีเส้นใยสีขาวอยู่รอบ ๆ และจะพบเมล็ดสีน้ำตาลคล้ายเมล็ด
( Sclerotinia rot ) ผักกาดติดอยู่บริเวณโคนต้น หากพบใช้โนมิลดิว 3 ช้อน / ปี๊บ ฉีด หรือใช้สารจุลินทรีย์
พวกบาซิลัสซับทิลิส และพวกไตรโคเดอม่าฉีดพ่นหรือรดโคนต้น
5. โรคไส้ดำ - เกิดจากการขาดธาตุโบรอน(B) อาการที่สังเกตได้คือ ต้นจะเหี่ยวเฉา รากหรือหัวจะผุ
( Black rot ) เปราะเมื่อผ่าดูในส่วนกลางของหัวจะมีสีดำและกลวง ป้องกันโดยใช้ นูริช 30 ซีซี./น้ำ 1ปี๊บ

ตารางการใช้อาหารเสริมและการป้องกันกำจัดโรคและแมลง
ข้าวโพดหวาน
ช่วงเวลาปลูก การใช้สารเคมี การใช้อาหารเสริม
* อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร * อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร
เริ่มเป็นใบจริง โนมิลดิว 2 ช้อน(20 กรัม) มามีโกร 12-9-6 30 ซีซี.
เทนเอ็ม 3 ช้อน(30 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
เริ่มออกดอก เทนเอ็ม 3 ช้อน(30 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
โคไซด์ 2 ช้อน(20 กรัม) มามีโกร 10-52-17 3 ช้อน
นูริช 30 ซีซี.
เริ่มติดฝัก เทนเอ็ม 3 ช้อน(30 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) มามีโกร 6-32-35 3 ช้อน
น๊อคทริน 10% 10 ซีซี. นูริช 40 ซีซี.
พร้อมใส่ปุ๋ยทางดิน 8-24-24
¨ การป้องกันกำจัดโรคและแมลง
1. โรคราน้ำค้าง ใช้เทนเอ็ม + โนมิลดิว อย่างละ 2 ช้อน
( Downy mildew )
2. หนอนเจาะฝัก ใช้น๊อคทริน 30 ซีซี. + เบสมอร์ 5 ซีซี. ถ้าไม่ระบาดมากใช้
ดี.ซี.ตรอนพลัส 30 ซีซี. + ชอสแมค 5 ซีซี./น้ำ 20 ลิตร

ตารางการใช้อาหารเสริมและการป้องกันกำจัดโรคและแมลง
ข้าวโพดฝักอ่อน

ช่วงเวลาปลูก การใช้สารเคมี การใช้อาหารเสริม
* อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร * อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร
เริ่มเป็นใบจริง โนมิลดิว 2 ช้อน(20 กรัม) มามีโกร 12-9-6 30 ซีซี.
เท็นเอ็ม 3 ช้อน(30 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
เริ่มออกดอก เทนเอ็ม 3 ช้อน(30 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
โคไซด์ 2 ช้อน(20 กรัม) มามีโกร 10-52-17 3 ช้อน
ออร์กามิน 30 ซีซี.
เริ่มติดฝัก เทนเอ็ม 3 ช้อน(30 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) มามีโกร 6-32-35 3 ช้อน
น๊อคทริน 10 % 10 ซีซี. นูริช 30 ซีซี.
พร้อมใส่ปุ๋ยทางดิน 8-24-24
¨ การป้องกันกำจัดโรคและแมลง
1. โรคราน้ำค้าง ใช้เทนเอ็ม + โนมิลดิว อย่างละ 2 ช้อน
( Downy mildew )
2. หนอนเจาะฝัก ใช้น๊อคทริน 30 ซีซี. + เบสมอร์ 5 ซีซี. ถ้าไม่ระบาดมากใช้
ดี.ซี.ตรอนพลัส 30 ซีซี. + ชอสแมค 5 ซีซี./น้ำ 20 ลิตร

ตารางการใช้อาหารเสริมและการป้องกันกำจัดโรคและแมลง
กระเจี๊ยบเขียว

ช่วงเวลาปลูก การใช้สารเคมี การใช้อาหารเสริม
* อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร * อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร
เริ่มเป็นใบจริง โนมิลดิว 2 ช้อน(20 กรัม) มามีโกร 12-9-6 30 ซีซี.
เทนเอ็ม 3 ช้อน(30 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม)
เริ่มออกดอก เทนเอ็ม 3 ช้อน(30 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
โคไซด์ 2 ช้อน(20 กรัม) มามีโกร 10-52-17 3 ช้อน
ออร์กามิน 30 ซีซี.
เริ่มติดฝัก เทนเอ็ม 3 ช้อน(30 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) มามีโกร 6-32-35 3 ช้อน
น๊อคทริน 10 % 10 ซีซี. นูริช 30 ซีซี.
พร้อมใส่ปุ๋ยทางดิน 8-24-24
¨ การป้องกันกำจัดโรคและแมลง
1. โรคราน้ำค้าง ใช้เท็นเอ็ม + โนมิลดิว อย่างละ 2 ช้อน
( Downy mildew )
2. หนอนเจาะฝัก ใช้น๊อคทริน 30 ซีซี. + เบสมอร์ 5 ซีซี. ถ้าไม่ระบาดมากใช้
ดี.ซี.ตรอนพลัส 30 ซีซี. + ชอสแมค 5 ซีซี./น้ำ 20 ลิตร
3. โรคราแป้ง ใช้ บาวีซาน + โคไซด์ อย่างละ 2 ช้อน
( Powdery mildew )

ตารางการใช้อาหารเสริมและการป้องกันกำจัดโรคและแมลง
มะละกอ

ช่วงเวลาปลูก การใช้สารเคมี การใช้อาหารเสริม
* อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร * อัตราต่อน้ำ 20 ลิตร
ช่วงเพาะกล้า คลุกเมล็ดก่อนปลูกด้วยโนมิลดิว ป้องกันโรคโคนเน่า
หลังจากปลูก 7-10 วัน โนมิลดิว 2 ช้อน(20 กรัม) มามีโกร 12-9-6 30 ซีซี.
เทนเอ็ม 2 ช้อน(20 กรัม) อโทนิค 5 ซีซี.
ชอสแมค 10 ซีซี.
เริ่มออกดอก โคไซด์ 2 ช้อน(20 กรัม) มามีโกร 10-52-17 3 ช้อน
บาวีซาน 2 ช้อน(20 กรัม) นูริช 40 ซีซี.
ชอสแมค 10 ซีซี. อโทนิค 5 ซีซี.
เริ่มติดลูก เทนเอ็ม 3 ช้อน(30 กรัม) มามีโกร 6-32-35 3 ช้อน
ชอสแมค 10 ซีซี. นูริช 40 ซีซี.
ออร์กามิน 30 ซีซี.
อโทนิค 5 ซีซี.
¨ การป้องกันกำจัดโรคและแมลง
1. โรคเน่าคอดิน จะพบมากในช่วงเพาะกล้า อาการจะเห็นต้นกล้าหักพับบริเวณโคนต้นระดับผิวดิน
( Root rot ) และจะเน่ายุบตายเป็นหย่อม ๆ ป้องกันโดยใช้โนมิลดิว 2 ช้อน / น้ำ 1 ปี๊บ
2. โรคใบหงิก, ใบกูด อาการยอดจะหงิกงอ ใบเหลืองซีด ต้นแคระแกร็น เกิดจากพวกเพลี้ยไฟ + ไร
( Curly top ) ป้องกันโดยใช้ชอสแมค 30 ซีซี. / น้ำ 1 ปี๊บ หากระบาดรุนแรงใช้สารพวก
ฟิโปรนิล (Fipronil) หรือ อิมิดาโคลปริด (Imidacolprid)
3. โรคใบด่างเหลือง จะพบมากในช่วงเริ่มออกดอก อาการที่ใบจะมีจุดเป็นวงสีเหลือง ๆ หากเป็นมาก
( Mosaic ) ใบจะหงิกงอ สาเหตุเกิดจากเชื้อไวรัส การป้องกันกำจัด ทำได้โดยการกำจัดแมลงพวกเพลี้ยและแมลงปากดูด ซึ่งเป็นพาหะนำเชื้อไวรัส โดยใช้ชอสแมค 30 ซีซี. ต่อน้ำ 1 ปี๊บ หากระบาดรุนแรงให้ถอนต้นและเผาทิ้ง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น